วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

ประมุขของประเทศในระบอบประชาธิปไตย

ประมุขของประเทศในระบอบประชาธิปไตย

 มีรูปแบบสำคัญ 2 แบบ คือ

1) พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขและประธานาธิบดีเป้นประมุข
2) ประมุขจะใช้ใช้อำนาจตามที่รัฐกำหนดไว้
...โดยประเทศที่มีพระมหากษัตริยืทรงเป็นประมุข พระองคืจะทรงใช้อำนาจไตยผ่านสถาบันการปกครอง ได้แก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล โดยที่นายรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาลหรือฝ่ายบริหาร เช่น สหราชอาณาจักรไทย ไทย นอร์เวย์ สวีเดน เป็นต้น
การใช้อำนาจประชาธิปไตย
การปกครองระบอบการปกครอง ทรงเป็นประมุข พระมหากษัตริย์มิได้เป็นหัวหน้ารัฐบาล
1) การใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา รัฐสภามีโครงสร้าง 2 แบบ คือ
     (1.1) อำนาจที่ของรัฐสภา
     (1.2) อำนาจหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎร์และวุฒิสภา
2) การใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี
    (2.1) อำนาจหน้าที่ของคณะรัฐมนตรีในการบริหารประเทศ
    (2.2) อำนาจหน้าที่ของคณะรัฐมนตรีในการบริหารราชการแผ่นดิน
3) การใช้อำนาจตุลาการทางศาล
    (3.1) ศาลรัฐธรรมนูญ
    (3.2) ศาลยุตติธรรม
    (3.3) ศาลปกครอง
    (3.4) ศาลทหาร

วันจันทร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2557

รูปแบบของรัฐ


2. รูปแบบของรัฐ

   รูปแบบของรัฐแบ่งได้เป็น 2 รูปแบบได้แก่
        1) เอกรัฐหรือรัฐเดี่ยว (unitary State or Single State) หมายถึง รัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงรัฐเดียว
ใช้อำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทั้งหมด อาจมีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นได้บริหารกิจการของ
ท้องถิ่นได้ตามที่รัฐบาลเห็นสมควร
        2) สหพันธรัฐหรือรัฐรวม (Federal State or Dual State) หมายถึง รัฐที่มีรัฐบาลสองระดับ คือ รัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นของแต่ละมลรัฐ รัฐบาลแต่ละระดับจะใช้อำนาจอธิปไตยปกครองตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ โดยทั้วไปรัฐบาลกลางของสหพันธรัฐมักจะเป็นผู้ใช้อำนาจในกิจการที่เกี่ยวข้องหรือกระทบกระเทือนต่อประโยชน์ส่วนรวมของชาติ